Sunday, May 31, 2009

A Great Book, Now Presented In MIT OpenCourseWare Videos


I first read Gödel, Escher, Bach: An Eternal Golden Braid around 1986. At the time, I knew Bach from cool music and Escher from cool art, but I was only vaguely aware that Gödel did something really important in mathematics, so I picked up the big book and started reading. It turned out to be one of the great (and one of the most challenging) books I have ever read. The book is about how consciousness and meaning might form from primitive, meaningless, building blocks.

I was just aware that MIT has a free course that you can view online teaching high school students about the contents of the book. This will be a great resource for a kid who understands English and is interested in questions about how consciousness might arise. It's much more interesting than what is normally discussed in normal classes.

I've been telling people around me that the current mainstream Thai education system is severely broken, producing mostly automatons optimized for stupid test scores, not for understanding. This is why I'm trying to collect links that might be useful for educating the next generation of children. (An example of such resources is Peteris Krumins' excellent collection of educational links I mentioned in a previous post.)

Two Interesting Talks From TED

The first one is about something I didn't know about bacteria (such as how they "talk"):



The other is about something I didn't know about orgasm (such as Denmark's plan to produce more piglets by sexually stimulating pigs):



I have my guess which one of the above links will be viewed more.

Wednesday, May 27, 2009

A Good Essay From The Past

I first read the essay by Danny Hillis about Richard Feynman and the Connection Machine about two decades ago and by chance read it again today. I still like it very much.

An Excerpt:

...For Richard, figuring out these problems was a kind of a game. He always started by asking very basic questions like, "What is the simplest example?" or "How can you tell if the answer is right?" He asked questions until he reduced the problem to some essential puzzle that he thought he would be able to solve. Then he would set to work, scribbling on a pad of paper and staring at the results. While he was in the middle of this kind of puzzle solving he was impossible to interrupt. "Don't bug me. I'm busy," he would say without even looking up. Eventually he would either decide the problem was too hard (in which case he lost interest), or he would find a solution (in which case he spent the next day or two explaining it to anyone who listened). In this way he worked on problems in database searches, geophysical modeling, protein folding, analyzing images, and reading insurance forms...

If you like science, or want to have a glimpse of how one of the finest minds of our species operated, you might want to check it out.

Sunday, May 24, 2009

Gapminder: For the Fact Based World View

I was very impressed with Dr. Hans Rosling's presentations at TED showing his super cool visualization software with publicly available data. Here's his gapminder.org website with even more interesting presentations. If you have not seen any of the presentations, take a look below. The Thai-subtitled version is here.

Thursday, May 21, 2009

ประชาธิปไตย: เครื่องขยายความฉลาด+ความดี (และความโง่+ความเลว)*

 
(เพิ่มเติม 17/6/2559: ในการเลือกตั้งระดับประเทศผมเลิกโหวตให้ใครไปหลายปีแล้วครับหลังจากเห็น ว่าประชาธิปไตยมันเป็นป้ายแสดงความชอบธรรมให้กลุ่มทุนต่างๆมาแสวงหาอำนาจและผลประโยชน์ หน้าที่ที่ผมพอจะทำได้คือทำให้ p ของคนรอบตัวสูงขึ้น คือถูกหลอกน้อยลง

ปัญหาคือประชาชนคิดว่าได้มีประชาธิปไตย แต่ในการปกครองจริงๆเป็นการปกครองเพื่อประโยชน์ของผู้ได้รับเลือกตั้งและพวก พ้อง แถมได้อ้างความชอบธรรมจากกระบวนการเลือกตั้งอีก ผมไม่ได้บอกว่าผมต่อต้านประชาธิปไตยนะครับ เพียงแต่เสนอว่าตรงไหนมันจะมีปัญหา จะได้แก้ตรงนั้น

ดูๆคร่าวๆทั่วโลกประเทศที่บอกว่ามีประชาธิปไตยตอนนี้มันโดนปกครองโดย Oligarch หรือ Plutocrats กันซะเยอะแล้วน่ะครับ ผมก็ไม่รู้นะครับว่าจะแก้ปัญหาอย่างไร เป็นพวกชอบบ่นแต่ทำไม่เป็นน่ะครับ :-D
สมมุติฐานผมอย่างหนึ่งคือพอคนมีคุณภาพชีวิตพื้นฐานดีแล้วจะถุกเอาเปรียบยาก ขึ้น สามารถรักษาสิทธิตัวเองดีขึ้น ก็เลยได้แต่หวังลึกๆว่าความรู้ทางวิทย์และเทคโนจะทำให้ปัจจัยการดำรงชีวิต มันถูกและดีขึ้นมากๆครับ)

มีแบบจำลองง่ายๆที่แสดงว่า เวลาเราตัดสินใจด้วยการลงมติด้วยเสียงส่วนใหญ่ ถ้าเอาคนฉลาดมารวมกันแล้วลงมติ ผลมักจะดีขึ้นกว่าคนเดียว ถ้าเอาคนโง่มารวมกันแล้วลงมติ ผลมักจะแย่ลง ยิ่งมีคนมารวมกันมากเท่าไรก็ยิ่งทำให้ผลดีขึ้นหรือแย่ลงมากขึ้นเท่านั้น

ถ้าท่านไม่สนใจคณิตศาสตร์กระโดดไปส่วนสรุปด้านล่างเลยครับ

มันเป็นอย่างนี้ครับ เราสมมุติว่ามีคนเป็นจำนวนคี่ = n คน และให้แต่ละคนมีโอกาสตัดสินใจในทางที่ถูกที่ควรด้วยความน่าจะเป็นเฉลี่ย = p และแต่ละคนตัดสินใจอย่างอิสระต่อกัน ดังนั้นโอกาสที่มติประชาธิปไตยจะตัดสินใจถูกก็คือ ความน่าจะเป็นที่คนเกินครึ่ง (หรืออย่างน้อย (n+1)/2 จาก n คน) ตัดสินใจถูก

เรากำหนดว่า probRightChoice(n,p) คือความน่าจะเป็นที่คนอย่างน้อย (n+1)/2 จาก n คนตัดสินใจถูกถ้าแต่ละคนมีโอกาสถูก p ดังนั้น probRightChoice(n,p) = ผลรวมของความน่าจะเป็นที่คน k คนจาก n คนตัดสินใจถูก โดยที่ k เริ่มจาก (n+1)/2 และเพิ่มไปทีละหนึ่งจนถึง n เช่นถ้ามีคนห้าคนมาลงมติ เราก็ต้องดูความน่าจะเป็นที่คน 3, 4, 5 คนตัดสินใจถูกแล้วรวมความน่าจะเป็นเหล่านั้น

คราวนี้ความน่าจะเป็นที่คน k คนจาก n คนตัดสินใจถูก = ความน่าจะเป็นที่คน k คนตัดสินใจถูก คูณด้วยความน่าจะเป็นที่คน n-k คนตัดสินใจผิด คูณด้วยจำนวนแบบที่เป็นไปได้ที่คน k คนตัดสินใจถูกและคน n-k คนตัดสินใจผิด

= pk (1-p)n-k C(n,k) โดยที่ C(n,k) = จำนวนแบบที่เป็นไปได้ที่คน k คนตัดสินใจถูกและคน n-k คนตัดสินใจผิด และ C(n,k) = n!/(k!(n-k)!)

= pk (1-p)n-kn!/(k!(n-k)!)

ดังนั้น probRightChoice(n,p) = ผลรวมของ pk (1-p)n-kn!/(k!(n-k)!) โดยที่ k เริ่มจาก (n+1)/2 และเพิ่มไปทีละหนึ่งจนถึง n (ดูหน้าตาข้างล่างนะครับ)

ปรากฏว่า ถ้า p มากกว่า 1/2 (ซึ่งแปลว่าคนฉลาด) probRightChoice(n,p) จะมากกว่า p เสมอ ถ้าจำนวนคนลงมติ (n) มีตั้งแต่สามคนขึ้นไป และยิ่ง n มากเท่าไร probRightChoice(n,p) ก็ยิ่งมากกว่า p ขึ้นไปอีก

ในทางกลับกัน ถ้า p น้อยกว่า 1/2 probRightChoice(n,p) จะน้อยกว่า p เสมอ ถ้าจำนวนคนลงมติ (n) มีตั้งแต่สามคนขึ้นไป และยิ่ง n มากเท่าไร probRightChoice(n,p) ก็ยิ่งน้อยกว่า p ลงไปอีก


ดังนั้นเราจึงกล่าวว่าประชาธิปไตยจะเป็นเครื่องขยาย เน้นความโง่หรือความฉลาดของผู้ลงมติ

ถ้าต้องการไม่ให้ประชาธิปไตยมาทำร้ายสังคมต้องแน่ใจว่า p มากกว่า 1/2 ครับ ขืนให้พวกโง่/เลวออกเสียง เราจะสิ้นชาติเอา

=== = ==== = ===== =========

*1. ในที่นี้ "ฉลาด" = ตัดสินใจถูกต้อง ตามที่ถูกที่ควร มีประโยชน์ต่อส่วนรวม และ "โง่" = ตัดสินใจไม่เป็นไปตามที่ถูกที่ควร พวกฉลาดแกมโกงเอาประโยชน์ใส่ตัว เบียดเบียนคนอื่นไม่นับเป็นพวก"ฉลาด"ในแบบจำลองนี้ครับ พวกนี้ไม่ควรมีเสียงในการรับใช้และปกครองสังคมที่เจริญแล้ว จริงๆต้องห้ามมายุ่งเกี่ยวกับอำนาจทั้งปวงครับ ชอบทำคนอื่นเดือดร้อน ควรลงโทษให้หนักเช่นโกงเลือกตั้งก็อย่าให้พวกมันทั้งเจ็ดชั่วโคตรมายุ่งกับการเมืองอีก

2. probRightChoice(n,p) มีหน้าตาดูน่ากลัวแบบนี้ครับ (บอกให้ Mathematica ทำให้ครับ):

แต่ความจริงก็เป็นแค่สูตรที่ดูไฮโซของผลรวมบางส่วนของ binomial probability distribution เท่านั้น ถ้ากระจายออกมาสำหรับ n = 1, 3, 5, 7 ก็จะมีหน้าตาบ้านๆดังนี้นั่นเอง:


3. probRightChoice(n,p) มีกราฟหน้าตาอย่างนี้ครับ:

จะเห็นได้ว่าถ้ามีคนมาลงมติมากๆ (เช่น n = 101 ในกราฟข้างบน) ถ้าแต่ละคนมีโอกาสตัดสินใจได้ถูกกว่าครึ่ง (p > 0.5) โอกาสที่มติของที่ประชุมจะถูกต้องสมควรแล้ว จะเข้าใกล้ 100% เลย ในทางกลับกันถ้าแต่ละคนมีโอกาสตัดสินใจถูกน้อยกว่าครึ่ง โอกาสที่มติที่ประชุมจะเข้าท่าจะเกือบไม่มีเลย

Wednesday, May 20, 2009

Some Info About Time Travel

At least two of the big movies coming out in 2009 involve time-travel, so it's a good time to review what we know and don't know about the possibility of the real time-travel to the past. Two informative and easy to understand links are Time Travel and Modern Physics and Rules for Time Travelers.

By the way, we are all traveling through time in the forward direction, so the only unknown time travel is time traveling to the past.

I think the movies Time Crimes (Los cronocrímenes) and Primer are probably closest to the real time travel if it is indeed possible.

Thursday, May 14, 2009

Limoncello


While I was looking up how to spell limoncello (which is one of my favorite "desserts" that happen to contain alcohol), I found a few interesting things about it:

1. 96% alcohol is required to extract the lemon oil flavors from the peel. It's diluted afterward.

2. You can make it at home following this recipe using vodka (taking a long time since alcohol content is 40-50%), or this one using 95% grain alcohol (quick), or this one also using 95% grain alcohol (also quick.)

3. Danny DeVito has his own line of limoncello.

4. The yellow stuff in the picture above is limoncello. The dark one is coffee-cello. The picture was taken at La Piola restaurant.

Saturday, May 09, 2009

ภาพยนตร์สุดเสียวประจำปี: Hard Candy


ผมชอบดูหนังเรื่อง Juno มาก พอรู้ว่านางเอก (Ellen Page) เล่นหนังเรื่อง Hard Candy และได้รีวิวดีก็เลยหามาดู

ดู Hard Candy แล้วหัวใจเต้นแรงมากครับตอนกลางๆเรื่อง ถ้าคุณเป็นผู้ชายคุณคงเข้าใจ

Patrick Wilson ที่เล่นเป็น Nite Owl II ใน Watchmen และ Little Children เล่นด้วยครับ

Thursday, May 07, 2009

ข่าวน่าชื่นใจ

ด.ญ.สุพรรณิการ์ ทองสา อายุ 12 ขวบเก็บเงินแสนคืนเจ้าของครับ

เธอบอกว่า “ที่ไม่เอา เพราะแม่เคยสอนไว้ อีกทั้งก่อนหน้านี้ ตำรวจเพิ่งมาอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องยาเสพติดในหมู่บ้าน จำได้ว่า ตำรวจเคยสอนไว้ว่า ไม่ให้เอาของของคนอื่น จึงตัดสินใจที่จะไม่เอา”

ถ้ามีเด็กอย่างนี้เยอะๆประเทศไทยในอนาคตน่าจะดีกว่าตอนนี้นะครับ ตอนนี้สังคมมันแย่ส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้ใหญ่หลายๆคนพ่อแม่ไม่สั่งสอน หรือไม่ก็กลายพันธุ์เลวตามพวกพ้องกันเต็มสภาเลย ถึงได้ทำผิดกฎหมายร้ายแรง แต่ไม่อาย แถมจะแก้กฎหมายให้ตัวเองพ้นผิดอีก

ผมเคยบันทึกข่าวน่าชื่นใจไปครั้งหนึ่งเมื่อเกือบสองปีที่แล้วด้วยครับ